[เคมี ม.6] ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน


สรุปเคมีม.6 “ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน” แบบเติมและแบบควบแน่น

กลับมาอีกครั้งกับสรุปเนื้อหาเรื่อง “ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน” แบบเติมและแบบควบแน่น สำหรับน้องม.6 ได้ไว้อ่านสอบมิดเทอมหรือจะไว้สำหรับอ่านสอบเข้ามหาลัยก็ได้เช่นกันน้า และสำหรับใครที่คิดว่าเนื้อหาเคมีส่วนนี้ยาก พี่กัปตันบอกเลยว่าไม่ต้องกังวลไป เพราะพี่กัปตันทำสรุปเรื่องปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันให้เข้าใจง่ายที่สุด พร้อมยกตัวอย่างผลิตภันฑ์พอลิเมอร์ที่ได้จากปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันทั้งแบบเติมและแบบควบแน่นให้น้องๆได้เห็นภาพมากขึ้นด้วย

ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน (Polymerization) คืออะไร ?

ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่

1. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบเติม
2. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่น

และเพื่อไม่ให้ขาดตอนในการทำความเข้าใจว่าปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบเติมและแบบควบแน่นเกิดจากอะไร? จะเหมือนหรือต่างกันอย่างไร? และผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันได้แก่อะไรบ้าง? ไปดูกันต่อได้เลย

ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน “แบบเติม”

ตัวอย่างพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน “แบบเติม”

ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน “แบบควบแน่น”

ตัวอย่างพอลิเมอร์ ที่เกิดจากปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน “แบบควบแน่น”

จบไปแล้วกับสรุปปฏิกิริยา “พอลิเมอไรเซชัน” แบบเติมและแบบควบแน่น พี่กัปตันขอย้ำน้องก่อนน้าว่าใครที่อยากเข้าใจเรื่องปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันนี้ ต้องกลับไปทบทวนเนื้อหาเคมีอินทรีย์ก่อนน้า โดยเน้นการเขียนโครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (แอลเคน แอลคีน แอลไคน์) และหมู่ฟังก์ชัน และลองเอามาปรับใช้ ฝึกฝนการเขียนปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันดูนะลูก บอกเลยเรื่องนี้ออกข้อสอบ A-Level เคมีบ่อยมาก ออกทุกปี ทบทวนเยอะๆนะ สู้ๆครับ

เคมีจะไม่ยากถ้าน้องๆเปิดใจ