สรุป “การไทเทรต” กรด-เบส เคมี ม.5

สรุป “การไทเทรต” กรด-เบส เคมี ม.5

เป็นยังไงกันบ้างครับ? หลังจากผ่านสนามสอบกลางภาคไปพร้อมจะลุยเนื้อหาถัดไปสำหรับกรด-เบสกันต่อหรือยังเอ่ย? แน่นอนเลยครับว่ายิ่งเรียน เนื้อหาก็จะค่อยๆเข้มข้นและยากขึ้นไปเรื่อยๆ เลยอาจจะทำให้น้องหลายคนกังวลและถอดใจกับเนื้อหากรด-เบสไปแล้ว แต่ไม่ต้องกังวลไป วันนี้พี่กัปตันได้เตรียมสรุปหัวข้อการไทเทรต กรด-เบส มาให้น้องทุกคนได้อ่านแล้ว ไหนใครรออยู่บ้าง? ไปอ่านกันเลย

ก่อนอื่นเลยนะครับเรามาทำความเข้าใจการไทเทรต กรด-เบสก่อนว่าคืออะไร ?

สำหรับการไทเทรตนั้นจะใช้อินดิเคเตอร์เพื่อบอกจุดยุติ และรูปด้านล่างนี้คืออินดิเคเตอร์บางชนิดที่พี่กัปตันนำมาให้ดูเป็นตัวอย่างเพื่อให้น้องๆ ได้เข้าใจและรู้หลักการเลือกใช้ในกระบวนการไทเทรตกันมากขึ้น

และนี่คือกราฟที่ได้จากการไทเทรตระหว่างกรดและเบส โดยในทางปฏิบัติจะไม่นิยมทำการไทเทรตกรดอ่อนและเบสอ่อน เพราะที่จุดสะเทินค่า pH จะเกิดการเปลี่ยนแปลงช้ามาก

เป็นยังไงกันบ้างครับ? ใครที่ไม่เข้าใจเรื่องการไทเทรต กรด-เบสนี้หรืออยากจะเตรียมตัวล่วงหน้าก่อนสอบปลายภาคพี่กัปตันบอกเลยสรุป “การไทเทรต” กรด-เบส เคมี ม.5นี้ช่วยได้อย่างแน่นอน และที่สำคัญพี่เตรียมเคมี Quiz มาให้ลองทำด้วย ไหนๆไปลองทำกันดูกันสิว่าจะเข้าใจกันจริงมั้ย ?

เฉลย ตอบข้อ d)
อธิบาย การไทเทรตระหว่างกรดแก่ ทำปฏิกิริยากับ เบสแก่ ได้สารละลายเกลือกลาง ควรเลือกใช้อินดิเคเตอร์ pH ประมาณ 7 ดังนั้นอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดคือ บรอมไทมอลบลู เพราะมีช่วง pH อยู่ที่ 6.0-7.6 นั่นเอง

สำหรับการไทเทรต กรด-เบส เนื้อหาจะเยอะหน่อยนะครับ แต่ถ้าน้องๆ หมั่นทบทวนแล้วก็ฝึกทำโจทย์เยอะๆ พี่เชื่อว่าน้องจะเข้าใจมากขึ้นและผ่านไปได้อย่างแน่นอน เป็นกำลังใจให้เสมอนะ สู้ๆครับ

เคมีจะไม่ยากถ้าน้องๆเปิดใจ