สรุปมาให้แล้ว “เลขออกซิเดชัน” ไฟฟ้าเคมี ม.5

สรุปมาให้แล้ว “เลขออกซิเดชัน” ไฟฟ้าเคมี ม.5

ใครกำลังเรียนเคมีไฟฟ้า ม.5 แล้วงงกับ ”เลขออกซิเดชัน”มาทางนี้เลย พี่สรุปเนื้อหาที่สำคัญ มาให้ครบแล้ว พร้อมวิธีจำง่ายๆ แบบไม่ต้องท่องเยอะ! อ่านจบรับรองว่าเข้าใจนำไปใช้ทั้งในการทำแบบฝึกหัดและข้อสอบได้อย่างแน่นอน

เลขออกซิเดชัน คืออะไร?
เลขออกซิเดชัน (Oxidation Number) คือค่าที่บอกการสูญเสียหรือได้รับอิเล็กตรอนของอะตอมในสารประกอบเคมี โดยเรามีหลักง่ายๆ ให้จำ ดังนี้

พอเห็นภาพกันไหมครับ งั้นเราไปดูตัวอย่างโจทย์การหาเลขออกซิเดชันให้เข้าใจมากขึ้นกันดีกว่า

ข้อสำคัญ!! กรณีสารประกอบที่ “มีประจุรวมไม่เป็นศูนย์” เช่น SO₄²⁻, NO₃⁻ ต้องเช็คเลขออกซิเดชันของทุกธาตุและรวมกันให้ได้ค่าประจุสุดท้ายตามประจุรวมนะครับ โดยอนุมูลกลุ่มที่ควรจำ ได้แก่ SO₄²⁻, NO₃⁻, PO₄³⁻, ClO₄⁻, CO₃²⁻, OH⁻ เป็นต้น

กรณีนี้พี่ก็มีตัวอย่างโจทย์การหาเลขออกซิเดชันมาให้เช่นกันครับ ลองดูกันนะ

ไหนๆ เข้าใจกันจริงหรือเปล่ากับการหาเลขออกซิเดชัน มาแวะทำเคมี K เคมี quiz กันสักข้อดีกว่า ใครทำได้ ตอบถูก แสดงว่าเข้าใจจริงครับ~

ก็จบไปแล้วนะครับ สำหรับการหาเลขออกซิเดชันไม่ใช่เรื่องยากเลยใช่มั้ยล่ะ น้องๆ ลองเอาหลักการนี้ไปฝึกทำโจทย์ดู รับรองว่าแม่นขึ้นแน่นอน! พี่เป็นกำลังใจให้น้องเก่งขึ้นทุกวันนะ

เฉลย เคมี K เคมี quiz
ตอบ ข้อ 4)
เพราะ 1) Cl มีเลขออกซิเดชัน +1
2) Cl มีเลขออกซิเดชัน +3
3) Cl มีเลขออกซิเดชัน +5
4) Cl มีเลขออกซิเดชัน +7 (มีค่ามากสุด)

#เคมีจะไม่ยากถ้าพวกเราเปิดใจ